บล็อกสมาชิกวุฒิสภา
Members of the Senate blog
ชื่อผู้ใช้งาน รหัสผ่าน

ลืมรหัสผ่านคลิ้กที่นี่
  หน้าหลัก เว็บไซต์วุฒิสภา สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา สมาชิกวุฒิสภา รัฐสภา
search
นายตวง อันทะไชย นายตวง อันทะไชย (ปัจจุบัน)  
หน้าหลัก ประวัติและผลงาน บทความ Photo Gallery ติดต่อ

เชื่อมโยงข้อมูลประวัติและผลงาน

ข้อมูลประวัติ

รายการเนื้อหา

folder วิดีโอมัลติมีเดีย
folder บทความน่ารู้เกี่ยวกับวุฒิสภาไทย
folder ผลงานของคณะกรรมาธิการ
folder ความรู้เกี่ยวกับการเมืองไทย

Photo Gallery



เชื่อมโยงเว็บไซต์


webmail SENATOR 064
จำนวนผู้เข้าเยี่ยมชม 3,339 ครั้ง
นับตั้งแต่ 13 สิงหาคม 2557

เรื่องแนะนำ (เรื่องแนะนำ) ปฏิรูปการศึกษา2015
doc เมื่อเวลา 11:27 น. วันที่ 3 พฤศจิกายน 2557

การศึกษาหลังปี2015

-มุ่งให้การศึกษาแก้ปัญหาที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
-การศึกษาแก้ปัญหาความขัดแย้ง
-การศึกษาสร้างสังคมสันติสุข
-การศึกษาสร้างความมั่นคงและความเสมอภาค
-การศึกษาแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ

(สมศักดิ์ ดลประสิทธิ์.สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา,2557.)
-เป้าหมายการพัฒนาไม่เน้นเฉพาะความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจอีกต่อไป
-----------------------
การศึกษามุ่งเน้นคุณค่า สร้างเจตนคติทำให้มนุษย์อยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขไม่แบ่งแยก( Irina Bokova,2011 หน้า3)
--------------
การศึกษาหลังการปฏิรูปจึงเป็นการศึกษาเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นสำคัญ  ต้องปฏิรูปเพื่อให้เกิดคุณภาพการศึกษาแก่ผู้เรียนคือคุณภาพกาย-อารมณ์-สังคม-สติปัญญา
ต้องปฏิรูปที่ครู(หลักสูตร/วิธีการสอนหรือกระบวนการเรียนการสอน/นวัตกรรม/เทคโนโลยี/การบริหาร/การจัดการ)

เอกสารแนบ : file_1414988895.jpg


Share

เรื่องแนะนำ (เรื่องแนะนำ) การปฏิรูปการศึกษา
doc เมื่อเวลา 11:14 น. วันที่ 3 พฤศจิกายน 2557

เปลี่ยนผ่านประเทศด้วยการศึกษา ปฏิรูปการศึกษาเพื่อแก้ปัญหาของชาติ

    จากความแตกแยกไปสู่ความปรองดองสามัคคีแบ่งปัน
    จากความสำนึกในสถาบันชาติศาสน์กษัตริย์น้อยไปสู่ความจงรักภักดีที่มากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
    จากแก่งแย่งชิงดีชิงเด่น มีค่านิมคอรัปชั่นไปสู่การรังเกียจและต่อต้านคอรัปชั่นซื้อสิทธิขายเสียง
    จากสังคมนิยมความรุนแรงไปสู่สังคมแห่งปัญญาและแสวงหาสันติภาพทุกมิติ

ประวัติศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาไทย

-ยุคที่1ล้นเกล้ารัชกาลที่5
  เพื่ออยู่รอดจากลัทธิล่าอาณานิคม

-ยุคที่2หลังปี2516
   เพื่อความเสมอภาคและเท่าเทียมกัน

-ยุคที่3 หลังมีพรบ.2542
   เพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโกาภิวัฒน์

-ยุคที่ 4 หลังการมีรัฐธรรมนูญ2557 หลังการปฏิรูปประเทศ
   อะไรจะเกิดขึ้น เพื่ออะไร
--------------------------
นโยบายด้านการศึกษา 6รัฐบาล
-------------------
1.พลเอกสุรยุทธ จุลานนท์/1ตค49

/เร่งรัดการปฏิรูปการศึกษาโดยยึดคุณธรรม
/ขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่เก็บค่าใช้จ่าย
/พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ
/กระจายอำนาจ/ปสู่เขตและสถานศึกษา
/ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
/พัฒนาการศึกษาในจังหวัดชายแดนใต้
-----------------
2.นายสมัคร สุนทรเวช/18กพ51

/ยกระดับคุณภาพการศึกษาของคนไทย
/พัฒนาหลักสูตรปรับระบบการผลิตและพัฒนาครูให้มีคุณภาพและคุณธรรมทันต่อการเปลี่ยนแปลง
/ส่งเสริมการใช้ICT เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนจัดให้มีการเข้าถึงอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงอย่างกว้างขวางและจัดหาอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อประกอบการเรียนการสอนให้โรงเรียนอย่างทัวถึง
/รับการศึกษาฟรี12ปีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
/เพิ่มโอกาสให้กู้ยืมเงินกองทุนกรอ./ให้ทุนการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ
/ผลิตและพัฒนาครูให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภาคการผลิตและบริการ
/ผลิตาชีวศึกษาให้มีคุณภาพเพื่อการแข่งขันร่วมมือกับผู้ประกอบการและให้มีการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพมาตรฐานสากล
/ขยาบบทบาทระบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ผ่านองค์กรต่างๆเช่นสนง.บริการจัดการความรู้/อุทยานการเรียนรู้
--------------
3.นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์/7ตค51

/ยกระดับคุณภาพการศึกษาทั้งระบบ
/เป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาค
/ได้รับการศึกษาฟรี 12ปี มีทุนการศึกษาในและต่างประเทศ
/เพิ่มโอกาสในการศึกษาต่อผ่านกองทุนกรอ.
/ผลิตและพัฒนาครูให้มีคุณภาพคุณธรรมมีรายได้และค่าตอบแทนท่ีเหมาะสม
/พัฒนาหลักสูตรสื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก
ส่งเสริมการเรียนภาษาไทยและประวัติศาสตร์เพื่อสร้างจิตนิยมความเป็นไทย
/ส่งเสริมictมาใช้ในการศึกษาและเข้าถึงระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงและจัดหาอุปกรณ์เทคโนโลยีเพื่อประกอบการเรียนการสอนอย่างทั่วถึงและพัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศ
/ขยายบทบาทความรู้เชิงสร้างสรรค์ผ่านองค์กรต่างๆ
/พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานอุดมศึกษาให้มีความเป็นเลิศด้านการศึกษาและวิจัย
/ผลิตอาชีวะให้มีคุณภาพและมีเส้นทางอาชีพอย่างชัดเจนเพื่อการแข่งขัน
/ส่งเสริมการกระจายอำนาจไปยังเขตและสถานศึกษาและอปท.
/ส่งเสริมการบริหารจัดการศึกษาทั้งระบบ
------------------
4.นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ/30ธค51

/ปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ
/ส่งเสริมให้เอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาเน้นไปที่อาชีวะและอุดม
/พัฒนาครูให้ดี เก่ง มีคุณธรรม มีคุณภาพ มีวิทยฐานะสูงลดภาระงานครู
/ปรับโครงสร้างหนี้ครูและจัดตั้งกองทุนพัฒนาคุณภาพชีวิตครู
/การศึกษาฟรี15ปีพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชน
/ยกระดับคุณภาพมาตรฐานอาชีวศึกษาและอุดมไปสู่ความเป็นเลิศปรับเงินเดือนและค่าตอบแทนผู้จบอาชีวะให้สูงขึ้น
/ปรับปรุงกองทุนกู้ยืมเพื่อให้โอกาสเข้าถึงมากขึ้น
/ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนประชาชนเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศเชิงสร้างสรรค์อย่าาญฉลาด
/เร่งรัดการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้อย่างบูรณาการทุกระดับ
------------------
5.คุณยิ่งลักษณ์ ชินวัตร/23 สค54

/เร่งปฏิรูปคุณภาพการศึกษา จัดให้มีโครงการตำราแห่งชาติ ปฏิรูปหลักสูตรทุกระดับเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก กระจายอำนาจสู่พื้นที่ที่มีความพร้อม
/สร้างโอกาสทางการศึกษาให้กู้ยืมกรอ. โครงการ1อำเภอ1ทุน  ปรับระบบการเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย
/ปฏิรูปครูให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง ปฏิรูประบบผลิตครูให้มีคุณภาพ สร้างแรงจูงใจให้คนดีมีคุณธรรมมาเป็นครูปรับระบบเงินเดือนและค่าตอบแทน พัฒนาความก้าวหน้าและแก้ปัญหาหนี้สินครูโดยพักการชำระหนี้และปรับโครงสร้างหนี้
/จัดการศึกษาอุดมและอาชีวศึกษาให้สอดคล้องกับตลาดแรงงาน
/พัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาให้ทัดเทียมนานาชาติโดยใช้เป็นเครื่องมือในการยกระดับคุณภาพและการกระจายโอกาสทางการศึกษา
/ส่งเสริมให้นักเรียนทุกระดับใช้แท็บเล็ตเพื่อการศึกษา พัฒนาระบบไซเบอร์เพื่อส่งความรู้มายังผู้เรียนโดยระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง
/สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาทุนปัญญาชาติ พัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็นมหาวิทยาลัยโลก  จัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศเพื่อการวิจัยสาขาที่ขาดแคลน
/เพิมขีดความสามารถของทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการเปิดเสรีประชาคมอาเซียน
--------------------
6.พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา/12กย57


ข้อเสนอ(สมศักดิ์ ดลประสิทธิ์ สภาการศึกษา 2557)

/ปฏิรูปการเรียนการสอน
   __ครู
   __หลักสูตร ต้องใช้นวัตกรรม  Innovation การใช้อีเลินนิ่ง E- Learning 
  ___สื่อการเรียน
  ___วิธีสอน ต้องเป็นFacilitator/Motivation/Inspiration/Coaching ต้องฝึกทักษะในการจัดการ ค้นหาความรู้และจัดการความรู้ให้แก่ผู้เรียน

/ปฏิรูปการบริหารจัดการ
  ___เน้นรร.เป็นฐาน สร้างบรรยากาศ
  ___ทั้งภูมิทัศน์และจิตทัศน์มีความสุขในการเรียนรู้
  ____ต้องปรุงรายหัว/มีบัตรอุดหนุนผู้เรียนโดยตรงQuality Life card (QLC)

/ผู้เรียนต้องมีคุณสมบัติ
___Intelligent Quotient. สติปัญญา
___Emotional Quotient อารมณ์
___Moral Quotient คุณธรรม จริยธรรม

เอกสารแนบ : file_1414988124.jpg


Share

 
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา เลขที่ 499 อาคารสุขประพฤติ ถนนประชาชื่น เขตบางซื่อ กรุงเทพฯ 10800
ศูนย์บริการ (Call Center) โทร. 028315888-9 โทรสาร. 028315889
© 2007 Senate Thailand. Allright reserved.